<div>
<iframe frameborder="0" height="1000" marginheight="0" marginwidth="0" src="<div>
<iframe frameborder="0" height="1000" marginheight="0" marginwidth="0" src="#" width="750"></iframe></div>" width="750"></iframe></div>
วันอาทิตย์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ผลงาน
<div>
<iframe frameborder="0" height="1000" marginheight="0" marginwidth="0" src="<div>
<iframe frameborder="0" height="1000" marginheight="0" marginwidth="0" src="#" width="750"></iframe></div>" width="750"></iframe></div>
<iframe frameborder="0" height="1000" marginheight="0" marginwidth="0" src="<div>
<iframe frameborder="0" height="1000" marginheight="0" marginwidth="0" src="#" width="750"></iframe></div>" width="750"></iframe></div>
วันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ความหมายของการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร
การเขียนสื่อสาร หมายถึง การเขียนถ้อยคำหรือข้อความเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด ตลอดจนอารมณ์ความรู้สึกและประสบณ์การของผู้เขียนไปยังผู้อ่าน การเขียนสื่อสารจะช่วยให้ผู้อ่านได้รับความรู้และเข้าใจวัตถุประสงค์ของผู้เขียนในหลาย ๆ ด้าน การเขียนสื่อสารมีองค์ประกอบ สำคัญดังนี้
1.ผู้เขียน คือ ผู้ส่งสารไปยังผู้อ่านด้วยวิธีการเขียน ผู้เขียนจะต้องมีความรู้ ความคิด ศึกษาค้นคว้าเรื่องราวต่างๆ แล้วนำมาเรียบเรียง
2.ผู้อ่าน คือ ผู้รับสาร ด้วยการอ่านข้อความหรือเรื่องราวของผู้เขียน ผู้อ่านถือว่าเป็นคนกลุ่มใหญ่ที่มีความแตกต่างทั้งทางเพศ สถานภาพ อาชีพ และระดับการศึกษา ผู้อ่านสามารถเลือกอ่านเรื่องราวที่ผู้เขียนสื่อและเป็นเรื่องที่ตนเองสนใจอ่าน
3.เนื้อหา คือ เรื่องราวที่ผู้เขียนต้องการเขียนสื่อสารไปยังผู้อ่าน เนื้อหาประกอบด้วยความรู้ ความคิด การแสดงทรรสนะ ประสบณ์การเนื้อหาที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่านอาจจะมีหลายรูปแบบ เช่น ข่าว บทความ สารคดี การเขียนอธิบาย ซึ่งการเขียนในรูปแบบต่างๆ อาจจะพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร สารานุกรม หรือเอกสารตพราต่างๆ
4.สื่อ คือ ช่องทางการสื่อสาร หรื่อสิ่งที่ใช้ตีพิมพ์ ข้อเขียนสื่อสาร เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร จดหมาย ตำรา สารานุกรม
การเขียนสื่อสาร หมายถึง การเขียนถ้อยคำหรือข้อความเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด ตลอดจนอารมณ์ความรู้สึกและประสบณ์การของผู้เขียนไปยังผู้อ่าน การเขียนสื่อสารจะช่วยให้ผู้อ่านได้รับความรู้และเข้าใจวัตถุประสงค์ของผู้เขียนในหลาย ๆ ด้าน การเขียนสื่อสารมีองค์ประกอบ สำคัญดังนี้
1.ผู้เขียน คือ ผู้ส่งสารไปยังผู้อ่านด้วยวิธีการเขียน ผู้เขียนจะต้องมีความรู้ ความคิด ศึกษาค้นคว้าเรื่องราวต่างๆ แล้วนำมาเรียบเรียง
2.ผู้อ่าน คือ ผู้รับสาร ด้วยการอ่านข้อความหรือเรื่องราวของผู้เขียน ผู้อ่านถือว่าเป็นคนกลุ่มใหญ่ที่มีความแตกต่างทั้งทางเพศ สถานภาพ อาชีพ และระดับการศึกษา ผู้อ่านสามารถเลือกอ่านเรื่องราวที่ผู้เขียนสื่อและเป็นเรื่องที่ตนเองสนใจอ่าน
3.เนื้อหา คือ เรื่องราวที่ผู้เขียนต้องการเขียนสื่อสารไปยังผู้อ่าน เนื้อหาประกอบด้วยความรู้ ความคิด การแสดงทรรสนะ ประสบณ์การเนื้อหาที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่านอาจจะมีหลายรูปแบบ เช่น ข่าว บทความ สารคดี การเขียนอธิบาย ซึ่งการเขียนในรูปแบบต่างๆ อาจจะพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร สารานุกรม หรือเอกสารตพราต่างๆ
4.สื่อ คือ ช่องทางการสื่อสาร หรื่อสิ่งที่ใช้ตีพิมพ์ ข้อเขียนสื่อสาร เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร จดหมาย ตำรา สารานุกรม
หลักและกลวิธีการเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย
หลักและกลวิธีการเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย
การเขียนอธิบายคำและเรื่องราวต่างๆ มีจุดมุ่งหมายที่เหมือนกัน คือ มุ่งเขียนเพื่อให้ผู้อ่านได้รับรู้
เกิดความเข้าใจความหมายของความทั้งในรูปแบบของการนิยาม และขยายความ
การเขียนอธิบายเพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น มีหลักและกลวิธีดังต่อไปนี้
1.ศึกษาคำ ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคำ หรือเรื่องราว ที่จะเขียน
การเขียนอธิบายคำและเรื่องราวต่างๆ มีจุดมุ่งหมายที่เหมือนกัน คือ มุ่งเขียนเพื่อให้ผู้อ่านได้รับรู้
เกิดความเข้าใจความหมายของความทั้งในรูปแบบของการนิยาม และขยายความ
การเขียนอธิบายเพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น มีหลักและกลวิธีดังต่อไปนี้
1.ศึกษาคำ ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคำ หรือเรื่องราว ที่จะเขียน
วันจันทร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ความหมายและความสำคัญของการเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย
ความหมายและความสำคัญของการเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย
การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย หมายถึง การเขียนสื่อสารเพื่ออธิบายความหมายหรือขยายความของคำหรือเรื่องราวต่างๆ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับรู้และเข้าใจความหมายที่ถูกต้องอันจะนำไปใช้ในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบายมีความสำคัญ ดังนี้
1.ช่วยให้ผู้อ่านได้รับรู้และเข้าใจความหมายของคำและเรื่องราวได้อย่างถูกต้อง
2.ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องราวต่างๆ ได้ชัดเจนและกว้างขวางยิ่งขึ้น
3.ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจสาระสำคัญของงานเขียนนั้นๆ ได้อย่างถูกต้อง
4.ช่วยให้ผู้อ่านเกิดองค์ความรู้ใหม่อันจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาหาความรู้ได้ดียิ่งขึ้น
5.ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของคำและข้อความ และสามารถนำไปสื่อสารได้ถูกต้อง
การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย หมายถึง การเขียนสื่อสารเพื่ออธิบายความหมายหรือขยายความของคำหรือเรื่องราวต่างๆ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับรู้และเข้าใจความหมายที่ถูกต้องอันจะนำไปใช้ในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบายมีความสำคัญ ดังนี้
1.ช่วยให้ผู้อ่านได้รับรู้และเข้าใจความหมายของคำและเรื่องราวได้อย่างถูกต้อง
2.ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องราวต่างๆ ได้ชัดเจนและกว้างขวางยิ่งขึ้น
3.ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจสาระสำคัญของงานเขียนนั้นๆ ได้อย่างถูกต้อง
4.ช่วยให้ผู้อ่านเกิดองค์ความรู้ใหม่อันจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาหาความรู้ได้ดียิ่งขึ้น
5.ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของคำและข้อความ และสามารถนำไปสื่อสารได้ถูกต้อง
ลักษณะของการเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย
ลักษณะของการเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย
การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบายที่ปรากฎในเอกสาร ตำรา เว็บไซต์ต่างๆ นั้น มีทั้งการเชียนอธิบายความหมายคำ ตลอดจนการเขียนอธิบายเรื่องราวต่างๆ มากมาย ลักษณะของการอธิบายที่หลากหลายนี้พอสรุปวิธรเขียนได้ดังต่อไปนี้
1.การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบายโดยการนิยามความหมายหรือให้คำจำกัดความ เป็นการอธิบายความหมายของคำ สำนวน เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายที่ถูกต้อง แลพสามารถนำไปใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
2.การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบายโดยการขยายความ เป็นการอธิบายความหมายของคำ ซึ่งไม่ใช่การนิยามความหมายสั้นๆ แบบที่เขียนอธิบายในพจนานุกรมโดยทั่วไปแต่เป็นการอธิบายขยายความและแสดงรายละเอียดซึ่งได้จากการศึกษาค้นคว้าในเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับคำเพิ่มเติม แล้วนำมาเรียงใหม่ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
3.การเขียนสื่อสารในรูปแบบอธิบายเปรียบเทียบ เป็นการเขียนเพื่ออธิบายเรื่องราวต่างๆให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น โดยการนำไปเปรียบเทียบกับสิ่งของอีกสิ่งหนึ่ง หรือเปรียบเทียบเหตุการณ์ ความเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ต่างยุคต่างสมัย เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจถึงความเหมือนความแตกต่าง หรือความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
4.การเขียนสื่อสารในรูปแบบอธิบาย โดยการยกตัวอย่าง การอธิบายเรื่องราวต่างๆที่เข้าใจยาก หรื่อเรื่องราวที่เกี่ยวกับสิ่งของโบราณ ซึ่งคนในสมัยปัจจุบันไม่เคยรู้จัก หรือสิ่งของของคนต่างวัฒนธรรมที่ผู้อ่าน อาจไม่เคยเห็นมาก่อน ตลอดจนการนำเสนอองค์กรความรู้ที่เป็นนามธรรมและเข้าใจยาก จึงจำเป็นต้องอธิบายให้เข้าใจและเป็นรูปธรรมมากขึ้น
การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบายที่ปรากฎในเอกสาร ตำรา เว็บไซต์ต่างๆ นั้น มีทั้งการเชียนอธิบายความหมายคำ ตลอดจนการเขียนอธิบายเรื่องราวต่างๆ มากมาย ลักษณะของการอธิบายที่หลากหลายนี้พอสรุปวิธรเขียนได้ดังต่อไปนี้
1.การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบายโดยการนิยามความหมายหรือให้คำจำกัดความ เป็นการอธิบายความหมายของคำ สำนวน เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายที่ถูกต้อง แลพสามารถนำไปใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
2.การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบายโดยการขยายความ เป็นการอธิบายความหมายของคำ ซึ่งไม่ใช่การนิยามความหมายสั้นๆ แบบที่เขียนอธิบายในพจนานุกรมโดยทั่วไปแต่เป็นการอธิบายขยายความและแสดงรายละเอียดซึ่งได้จากการศึกษาค้นคว้าในเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับคำเพิ่มเติม แล้วนำมาเรียงใหม่ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
3.การเขียนสื่อสารในรูปแบบอธิบายเปรียบเทียบ เป็นการเขียนเพื่ออธิบายเรื่องราวต่างๆให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น โดยการนำไปเปรียบเทียบกับสิ่งของอีกสิ่งหนึ่ง หรือเปรียบเทียบเหตุการณ์ ความเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ต่างยุคต่างสมัย เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจถึงความเหมือนความแตกต่าง หรือความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
4.การเขียนสื่อสารในรูปแบบอธิบาย โดยการยกตัวอย่าง การอธิบายเรื่องราวต่างๆที่เข้าใจยาก หรื่อเรื่องราวที่เกี่ยวกับสิ่งของโบราณ ซึ่งคนในสมัยปัจจุบันไม่เคยรู้จัก หรือสิ่งของของคนต่างวัฒนธรรมที่ผู้อ่าน อาจไม่เคยเห็นมาก่อน ตลอดจนการนำเสนอองค์กรความรู้ที่เป็นนามธรรมและเข้าใจยาก จึงจำเป็นต้องอธิบายให้เข้าใจและเป็นรูปธรรมมากขึ้น
ผู้จัดทำ
ผู้จัดทำ
นางสาวธารารัตน์ คงคชวรรณ ชื่อเล่น มิว
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/6 โรงเรียนพระแสงวิทยา
เกิดเสาร์ ที่5 พฤษภาคม 2544
บิดาชื่อ นายอนุวัฒน์ คงคชวรรณ อาชีพ รับจ้าง
มารดาชื่อ นางสาว บังอร ชาติวงศ์ อาชีพ รับจ้าง
มีพี่น้องร่วมสายเลือด2คน ตนเองเป็นคนโต
น้องสาวชื่อ เด็กหญิง ชนกนันท์ คงคชวรรณ ชื่อเล่น มิ้นท์
อยู่บ้านเลขที่ 22/2 ม.6 ต.อิปัน อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี 84210
นางสาวธารารัตน์ คงคชวรรณ ชื่อเล่น มิว
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/6 โรงเรียนพระแสงวิทยา
เกิดเสาร์ ที่5 พฤษภาคม 2544
บิดาชื่อ นายอนุวัฒน์ คงคชวรรณ อาชีพ รับจ้าง
มารดาชื่อ นางสาว บังอร ชาติวงศ์ อาชีพ รับจ้าง
มีพี่น้องร่วมสายเลือด2คน ตนเองเป็นคนโต
น้องสาวชื่อ เด็กหญิง ชนกนันท์ คงคชวรรณ ชื่อเล่น มิ้นท์
อยู่บ้านเลขที่ 22/2 ม.6 ต.อิปัน อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี 84210
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ผลงาน
<div> <iframe frameborder="0" height="1000" marginheight="0" marginwidth="0" src=" &l...
-
ความหมายและความสำคัญของการเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย หมายถึง การเขียนสื่อสารเพื่ออธิบายความหม...
-
หลักและกลวิธีการเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย การเขียนอธิบายคำและเรื่องราวต่างๆ มีจุดมุ่งหมายที่เหมือนกัน คือ มุ่งเขียนเพื่อให้ผู้อ่านได้รั...
-
ความหมายของการสื่อสาร การเขียนสื่อสาร หมายถึง การเขียนถ้อยคำหรือข้อความเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด ตลอดจนอารมณ์ความรู้สึกและประสบณ์การขอ...